การจัดการเรียนการสอนแนวทาง
ทวิ/พหุภาษา โดยใช้ภาษาแม่เป็นฐาน
ระดับชั้นอนุบาล 2
เป็นการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนที่มีความประสงค์หรือต้องไปจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวทางและหลักการในการสอน การพัฒนาและผลิตสื่อที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ได้อย่างเหมาะสม หลักสูตรนี้ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนเข้าเรียนในระบบออนไลน์ได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย หลักสูตรนี้ประกอบด้วย 8 หน่วยการเรียนรู้ และแต่หน่วยการเรียนรู้จะเป็นวีดีโอการบรรยาย การสาธิตและการสอน ผู้เรียนต้องทำแบบทดสอบความเข้าใจก่อนเรียนและหลังเรียน รวมถึงแบบทดสอบความเข้าใจประจำหน่วย ประเมินความพึงพอใจท้ายบท เพื่อรับเกียรติบัตร
วัตถุประสงค์ของสื่อ
ความรู้ ความเข้าใจ ถึงเหตุผลที่ต้องจัดการเรียนการสอนแนวทางทวิ/พหุภาษา โดยใช้ภาษาแม่เป็นฐาน
การพัฒนาและผลิตสื่อสำหรับการสอนฟัง-พูด
ในภาษาท้องถิ่น/ภาษาแม่
1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจว่ามีสื่ออะไรบ้างที่ใช้ในการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาแม่ของเด็กกลุ่มชาติพันธุ์ในระดับชั้นอนุบาล 2 และแต่ละสื่อมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาและผลิตสื่อแต่ละตัวในชุดนี้ได้
วิธีการสอน
ผู้เรียนจะเข้าใจว่าวิธีการสอนนี้คืออะไร เหมาะกับใคร เริ่มตันจากที่ใด มีหลักการสำคัญอะไร มีรูปแบบการสอนกี่รูปแบบ มีขั้นตอนการสอนอย่างไรให้ได้ผลดีและนำไปใช้ได้
ตัวอย่างบทเรียน
- คำอธิบายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 1
- 1. ภาพรวม วิดีโอแนะนำทวิ/พหุภาษาคืออะไร (3:24)
- 2. จุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนแนวทางทวิ/พนุภาษา (4:48)
- 3. หลักการของการจัดการเรียนการสอนแนวทางทวิ/พหุภาษา (15:24)
- 4. ลักษณะรูปแบบการจัดการเรียนการสอน (11:00)
- 5. การจัดการในชั้นเรียนแนวทางทวิ/พหุภาษา (14:32)
- 6. สิทธิเด็ก (8:55)
- แบบทดสอบความเข้าใจ หน่วยที่ 1
- สรุปความเข้าใจ หน่วยที่ 1 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- คำอธิบายหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 2
- 1. วีดีโอแนะนำการพัฒนาและผลิตสื่อสำหรับการสอนฟัง-พูดในภาษาท้องถิ่น/ภาษาแม่ (8:29)
- 2. การพัฒนาฉากภาพใหญ่ (3:40)
- 3. การพัฒนาหนังสือรูปภาพ (5:47)
- 4. การผลิตหนังสือรูปภาพ (4:26)
- 5. การพัฒนาเรื่องเล่า (8:44)
- 6. การพัฒนาเพลง (4:13)
- 7. การพัฒนาเรื่องจากประสบการณ์ (2:38)
- แบบทดสอบความเข้าใจ หน่วยที่ 2
- สรุปความเข้าใจ หน่วยที่ 2 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- ส่งชิ้นงานหนังสือรูปภาพ หน่วยที่ 2 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- ส่งชิ้นงานเรื่องเล่า หน่วยที่ 2 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- ส่งชิ้นงานเพลงเด็ก หน่วยที่ 2 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- หนังสือให้ความยินยอม (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- คำอธิบายหน่วยการเรียนรู้ที่ 3
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 3
- 1. วีดีโอแนะนำ กระบวนการและวิธีการสอนโดยใช้ภาษาท้องถิ่น (11:17)
- 2. ความหมายและจุดประสงค์ของฉากภาพใหญ่ (3:01)
- 3. วิธีการสอนและตัวอย่างการสอนฉากภาพใหญ่ (12:16)
- 4. ความหมายและจุดประสงค์ของหนังสือรูปภาพ (2:46)
- 5. วิธีการสอนและตัวอย่างการสอนหนังสือรูปภาพ (13:18)
- 6. ความหมายและจุดประสงค์ของเรื่องเล่า (2:29)
- 7. วิธีการสอนและตัวอย่างการสอนเรื่องเล่า (13:09)
- 8. ความหมายและจุดประสงค์ของเรื่องจากประสบการณ์ (2:33)
- 9. วิธีการสอนและตัวอย่างการสอนเรื่องจากประสบการณ์ (8:59)
- 10. ความหมายและจุดประสงค์ของเพลง (1:55)
- 11. วิธีการสอนและตัวอย่างการสอนเพลง (6:58)
- แบบทดสอบความเข้าใจ หน่วยที่ 3
- สรุปความเข้าใจ หน่วยที่ 3 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- คำอธิบายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 4
- 1. วีดีโอแนะนำ การพัฒนาและผลิตสื่อสำหรับการเตรียมอ่าน-เขียนในท้องถิ่น/ภาษาแม่ (6:53)
- 2. ความหมายและวัตถุประสงค์ของแบบฝึกเตรียมอ่านเขียน (1:47)
- 3. การพัฒนาแบบฝึกเตรียมอ่าน-เขียน (5:44)
- แบบทดสอบความเข้าใจ หน่วยที่ 4
- สรุปความเข้าใจ หน่วยที่ 4 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- คำอธิบายหน่วยการเรียนรู้ที่ 5
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 5
- แผนการสอนระดับชั้นอนุบาล 2
- 1. รูปแบบการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย แนวทาง ทวิ/พหุภาษา (6:59)
- 2. ตัวอย่างการจัดกิจกรรมรายวิชา สุขศึกษา ในภาษาท้องถิ่น (3:55)
- 3. ตัวอย่างการจัดกิจกรรมรายวิชาคณิตศาสตร์ในภาษาท้องถิ่น (5:14)
- แบบทดสอบความเข้าใจ หน่วยที่ 5
- สรุปความเข้าใจ หน่วยที่ 5 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- คำอธิบายหน่วยการเรียนรู้ที่ 6
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 6
- 1. วีดีโอแนะนำการพัฒนาและผลิตสื่อการสอนฟัง-พูดภาษาไทย (14:16)
- 2. ความหมายวัตถุประสงค์ สื่อ ทีพีอา (4:03)
- 3. หลักการและวิธีการเลือกคำศัพท์ประเภทต่างๆที่ใช้เป็นสื่อในการสอน (10:42)
- 4. การพัฒนาและออกแบบชุดคำสั่ง (13:11)
- 5. การผลิตสื่อ ทีพีอา (แปะ-ดึง) (4:56)
- แบบทดสอบความเข้าใจ หน่วยที่ 6
- สรุปความเข้าใจ หน่วยที่ 6 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- ส่งชิ้นงาน ทีพีอาแปะ-ดึง (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- หนังสือให้ความยินยอม (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- คำอธิบายหน่วยการเรียนรู้ที่ 7
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 7
- 1. วีดีโอแนะนำ กระบวนการและวิธีการสอนแบบที พี อา (12:58)
- 2. ทำไมจึงต้องใช้วิธีการสอนแบบทีพีอา (2:50)
- 3. แนวทางและขั้นตอนการสอน (8:02)
- 4. ตัวอย่างวิธีการสอนทีพีอา-ร่างกาย (5:35)
- 5. ตัวอย่างวิธีการสอนทีพีอา-สิ่งของ (6:12)
- 6. ตัวอย่างวิธีการสอนทีพีอา-รูปภาพ(ชี้) (5:10)
- 7. ตัวอย่างวิธีการสอนทีพีอา-รูปภาพ(แปะ/ดึง) (7:05)
- 8. ตัวอย่างวิธีการสอนทีพีอา-รูปภาพ(เดินทาง) (7:25)
- 9. ตัวอย่างวิธีการสอนทีพีอา-รูปภาพ(วาด/ลบ) (8:44)
- 10. ตัวอย่างวิธีการสอนทีพีอา-เล่าเรื่อง (8:16)
- แบบทดสอบความเข้าใจ หน่วยที่ 7
- สรุปความเข้าใจ หน่วยที่ 7 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)